GJ E-Magazine เล่มที่ 26

ความรู้ทั่วไป   ลงวันที่

GJ E-Magazine ฉบับที่ 26 (เดือนมกราคม 2567)

“โรคที่พบในเด็ก”

คลิกที่นี่เพื่ออ่าน

 

ไฟล์ขนาดใหญ่สำหรับพิมพ์ : คลิกที่นี่

บทความที่เกี่ยวข้อง

Office Syndrome กับศาสตร์การแพทย์แผนจีน

Office Syndrome กับศาสตร์การแพทย์แผนจีน โดย พจ. ธีรวุฒิ ชาญศิริเจริญกุล Office Syndrome คืออะไร เป็นโรคที่คนยุคใหม่เริ่มเป็นกันมากขึ้นเรื่อย จากพฤติกรรมของคนเราที่เปลี่ยนไป ซึ่งแต่ก่อนคนเรามักจะมีกิจกรรมมากกว่านี้ เช่นการเดิน เคลื่อนไหว การออกแรงทำงาน หรือออกกำลังกายที่ลดลง เปลี่ยนไปเป็นการทำงานหรือใช้มือถือเป็นเวลานาน ๆ  ก็เลยทำให้เราใช้แต่กล้ามเนื้อมัดเดิม ๆ และเป็นเวลานาน ๆ ส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบและปวดเมื่อยตามอวัยวะต่าง ๆ โดยเฉพาะบริเวณ คอ หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ ซึ่งอาการปวดดังกล่าวอาจลุกลามจนกลายเป็นอาการปวดเรื้อรัง หากปล่อยไว้นาน ๆ อาจทำให้อาการมีการลุกลามมากขึ้น ทำให้มีอาการปวดหัวคล้ายไมเกรน หรืออาจจะเกิดโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้ออื่น ๆ ตามมาได้ด้วย เช่น กระดูกคอเสื่อม หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท วิธีการรักษา เป็นการสอดเข็มขนาดเล็กและบางเข้าไปในจุดฝังเข็มเฉพาะบนร่างกาย เป็นวิธีที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ โดยการฝังเข็มช่วยลดการหลั่งสารที่ก่อให้เกิดการอักเสบ เช่น substance p , prostaglandin, cyclooxygenase-2 (COX-2)  ปรับปรุงการไหลเวียนของเลือดไปยังกล้ามเนื้อที่มีอาการปวดหรือชา  […]

มะเร็งตับทุกระยะ…เราดูแลให้

มะเร็งตับทุกระยะ…เราดูแลให้ โดย ทีมแพทย์ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มะเร็งตับ (Hepatocellular Carcinoma) จัดเป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับต้น ๆ ถือเป็นภัยร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยไปไม่น้อยในแต่ละปี ซึ่งในระยะแรก อาจไม่มีอาการใด แต่พบโดยบังเอิญจากการตรวจสุขภาพประจำปี ไปจนถึงอาการปวดจุกแน่นท้อง คลำได้ก้อนบริเวณชายโครงด้านขวา หรือรุนแรงจนตัวเหลือง ตาเหลือง ท้องโต ขาบวมในระยะท้าย แม้ฟังดูอาจเป็นโรคที่น่ากลัว แต่ที่ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก เรามีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับทุกระยะ ด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหลายสาขา บุคลากรสหสาขาวิชาชีพ ตลอดจนอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัยและเทคโนโลยีขั้นสูง ทำให้เราพร้อมดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมในทุกมิติ เริ่มตั้งแต่การตรวจคัดกรองในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง อาทิ ผู้ป่วยตับแข็งหรือมีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ โดยใช้อัลตราซาวน์และเจาะเลือดตรวจสารบ่งชี้มะเร็งตับ หากมีความผิดปกติ แพทย์จะพิจารณาส่งตรวจละเอียดเพิ่มเติม ไม่ว่าจะเป็นการเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) หรือการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) นอกจากนี้ หากผลตรวจยังไม่ชัดเจน อาจมีการเจาะชิ้นเนื้อตับส่งตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันการวินิจฉัย โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านรังสีร่วมรักษา ในส่วนของการรักษานั้น จะแบ่งตามความรุนแรง ระยะต้น สามารถรักษาให้หายขาดได้ ไม่ว่าจะเป็นการผ่าตัดโดยศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านตับและทางเดินน้ำดี (HPB surgeons) หรือจะเป็นการจี้ก้อนด้วยเข็มความร้อน (Radiofrequency ablation; RFA, Microwave ablation; MWA), เข็มความเย็น […]

GJ E-Magazine เล่มที่ 28

GJ E-Magazine ฉบับที่ 28 (เดือนกรกฎาคม 2567) “โรคผิวหนัง” คลิกที่นี่เพื่ออ่าน   ไฟล์ขนาดใหญ่สำหรับพิมพ์ : คลิกที่นี่  

GJ E-Magazine เล่มที่ 27

GJ E-Magazine ฉบับที่ 27 (เดือนเมษายน 2567) “โรคปอดกับการสูบบุหรี่” คลิกที่นี่เพื่ออ่าน   ไฟล์ขนาดใหญ่สำหรับพิมพ์ : คลิกที่นี่